สัดส่วนแผนงานที่ 1
กลุ่มแผนงาน วงเงินอนุมัติ จำนวนโครงการที่อนุมัติ
แผนงานที่ 11
แผน 1.1 เพื่อจัดหาเครื่องมือและอุปกรณ์ทางการแพทย์ ยารักษาโรค วัคซีน และการวิจัย พัฒนาและผลิตวัคซีนภายในประเทศ
65,659,603,697.57
บาท
25
โครงการ
แผนงานที่ 12
แผน 1.2 เพื่อปรับปรุงสถานพยาบาลสำหรับการบำบัดรักษาผู้ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
230,871,100.00
บาท
5
โครงการ
แผนงานที่ 13
แผน 1.3 เพื่อรองรับค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข
154,205,703,600.00
บาท
15
โครงการ
รวมทั้งหมด
220,096,178,397.57
บาท
45
โครงการ

ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลการเบิกจ่ายต่อวงเงินกู้ฯ ที่ได้รับอนุมัติ
วงเงินอนุมัติ
ผลเบิกจ่าย
สัดส่วนโครงการที่เสร็จสิ้นต่อโครงการที่อนุมัติ
จำนวนโครงการเสร็จสิ้น
40
โครงการ
สัดส่วนโครงการที่แล้วเสร็จ
88.89 %
แผนงานที่ 1.1 แผนงานที่ 1.2 แผนงานที่ 1.3
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

กลุ่มแผนงาน
หน่วยงาน
วงเงินกู้ที่อนุมัติ (บาท)
220,096,178,397.57
ผลการเบิกจ่าย (บาท)
201,177,551,411.77
% การเบิกจ่าย
91.40%
เลือกแสดงผล
หน่วยงาน สังกัด/กระทรวง วงเงินกู้ที่อนุมัติ ผลการเบิกจ่าย สัดส่วนผลการเบิกจ่าย แล้วเสร็จ อยู่ระหว่าง ยกเลิก/ขอยกเลิก จำนวนโครงการ
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 140,023,624,600.00 133,351,641,006.13
95.24 %
6 0 6
กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรค 53,412,419,597.57 47,067,362,572.02
88.12 %
4 0 6
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 23,280,356,200.00 19,165,757,292.23
82.33 %
6 0 6
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2,316,800,000.00 736,648,760.00
31.80 %
0 0 1
สถาบันวัคซีนแห่งชาติ สถาบันวัคซีนแห่งชาติ 427,119,100.00 260,690,679.49
61.03 %
2 0 4
กรมการแพทย์ กรมการแพทย์ 272,258,500.00 243,728,354.00
89.52 %
2 0 2
มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล 108,879,800.00 101,111,999.00
92.87 %
3 0 3
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 60,600,000.00 60,600,000.00
100.00 %
1 0 1
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 55,910,000.00 55,029,735.00
98.43 %
1 0 1
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ.) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ.) 37,500,000.00 37,500,000.00
100.00 %
1 0 1
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 32,300,000.00 31,954,900.00
98.93 %
2 0 2
กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร 18,050,000.00 17,250,000.00
95.57 %
1 0 1
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 16,168,200.00 14,571,308.90
90.12 %
2 0 2
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 7,200,000.00 7,180,000.00
99.72 %
1 0 1
กรมสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 6,952,900.00 6,921,150.00
99.54 %
1 0 1
กรมอนามัย กรมอนามัย 6,449,500.00 6,238,655.00
96.73 %
2 0 2
เมืองพัทยา เมืองพัทยา 4,200,000.00 4,090,000.00
97.38 %
1 0 1
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 3,400,000.00 3,318,000.00
97.59 %
1 0 1
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2,300,000.00 2,273,000.00
98.83 %
1 0 1
มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพา 1,980,000.00 1,978,000.00
99.90 %
1 0 1
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1,710,000.00 1,706,000.00
99.77 %
1 0 1
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

สรุปวงเงินกู้ฯ ที่ผ่านการอนุมัติจำแนกตามภูมิภาค
45
โครงการ
จำนวนโครงการ
วงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ
ผลการเบิกจ่าย
สัดส่วนผลการเบิกจ่าย
ต่อวงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ




ข้อมูลรายโครงการ : ส่วนกลาง
หน่วยงาน สังกัด/กระทรวง วงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ ผลการเบิกจ่าย สัดส่วนผลเบิกจ่าย
กรมการแพทย์ กรมการแพทย์ 272,258,500.00 243,728,354.00
89.52%
กรมควบคุมโรค กรมควบคุมโรค 53,412,419,597.57 47,067,362,572.02
88.12%
กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ กรมวิทยาศาสตร์การแพทย์ 16,168,200.00 14,571,308.90
90.12%
กรมสุขภาพจิต กรมสุขภาพจิต 6,952,900.00 6,921,150.00
99.54%
กรมอนามัย กรมอนามัย 6,449,500.00 6,238,655.00
96.73%
กรุงเทพมหานคร กรุงเทพมหานคร 18,050,000.00 17,250,000.00
95.57%
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2,316,800,000.00 736,648,760.00
31.80%
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี 3,400,000.00 3,318,000.00
97.59%
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ 7,200,000.00 7,180,000.00
99.72%
มหาวิทยาลัยบูรพา มหาวิทยาลัยบูรพา 1,980,000.00 1,978,000.00
99.90%
มหาวิทยาลัยมหาสารคาม มหาวิทยาลัยมหาสารคาม 1,710,000.00 1,706,000.00
99.77%
มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยมหิดล 108,879,800.00 101,111,999.00
92.87%
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 2,300,000.00 2,273,000.00
98.83%
มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์ 55,910,000.00 55,029,735.00
98.43%
มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ 32,300,000.00 31,954,900.00
98.93%
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ 60,600,000.00 60,600,000.00
100.00%
เมืองพัทยา เมืองพัทยา 4,200,000.00 4,090,000.00
97.38%
สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ.) สถาบันการแพทย์ฉุกเฉิน (สพฉ.) 37,500,000.00 37,500,000.00
100.00%
สถาบันวัคซีนแห่งชาติ สถาบันวัคซีนแห่งชาติ 427,119,100.00 260,690,679.49
61.03%
สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข สำนักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข 23,280,356,200.00 19,165,757,292.23
82.33%
สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ สำนักงานหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ 140,023,624,600.00 133,351,641,006.13
95.24%
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลการประเมินในแผนงานที่ 1
รวมผลการประเมินทั้งหมด A
1. ด้านความสอดคล้อง และความเชื่อมโยง (Relevance & Coherence) a
2. ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) a
3. ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) a
4. ผลกระทบ (Impact) a
5. ด้านความยั่งยืน (Sustainability) a
ปัญหาและอุปสรรค
    1. ขาดกลุ่มตัวอย่างเพื่อทดลองวัคซีน โครงการวิจัยและพัฒนาวัคซีน โควิด-19 ChulaCov19 mRNA ที่ผลิตเองในประเทศไทยฯ ต้องทดสอบในกลุ่มตัวอย่างผู้ที่ไม่เคยได้รับวัคซีนโควิด-19 ซึ่งในไทยมีน้อยราย จำเป็นต้องหากลุ่มตัวอย่างในต่างประเทศเพิ่มเติม
    2. การบริหารและกระจายวัคซีนในประเทศ ของโครงการจัดหาวัคซีนป้องกันวัคซีนโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 จำนวน 30,002,310 โดส (Pfizer) และโครงการจัดหาวัคซีนป้องกันโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019ฯ จำนวน 60,000,000 โดส (AstraZeneca) ต้องมีการปรับเปลี่ยนแผนงาน เนื่องจากประชาชนได้รับวัคซีนแล้วจำนวนมาก จากโครงการอื่นๆ
    3. โครงการประเภทพัฒนาห้องปฏิบัติการฯ เช่นโครงการพัฒนาห้องปฏิบัติการ ABSL3 คณะสัตวแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหิดล วิทยาเขตกาญจนบุรี เพื่อการรับรองมาตรฐานความปลอดภัยทางชีวภาพระดับสากล มีการก่อสร้างล่าช้ากว่าแผนที่กำหนด เนื่องจาก ขาดแคลนแรงงานเนื่องจากการระบาดของโรคโควิด-19 เป็นระลอกๆ ทำให้แรงงานติดเชื้อและต้องหยุดทำงาน
    4. การจัดตั้งศูนย์ปฏิบัติการวิจัยและทดสอบวัคซีนและเภสัชภัณฑ์ในลิงมาร์โมเส็ทฯ ในช่วงแรกของการดำเนินโครงการ ประสบกับปัญหาการจัดหาลิงมาร์โมเส็ทมาทดสอบ เนื่องจากช่วงหน้าฝนผู้เลี้ยงลิงจะไม่ผลิตลูกลิง เพราะมีความเสี่ยงที่จะได้ลูกลิงที่ไม่แข็งแรงและอาจเสียชีวิตเพราะติดเชื้อ และไม่สามารถนำเข้าลิงมาโมเส็ตจากต่างประเทศได้ เนื่องจากไม่มีสายการบินรองรับ ประกอบกับค่าขนส่งทางเครื่องบินมีราคาสูง ทำให้ต้องใช้ระยะเวลารอคอย นอกจากนี้ พบว่า มีการปรับแก้แบบอาคารให้เหมาะสมมากขึ้น เช่น ห้องพักลิง และห้องผ่าตัดลิง เป็นต้น
    5. ความล่าช้าในกระบวนการการตรวจรับและการเบิกจ่าย มีเอกสารที่ต้องตรวจสอบจำนวนมากและเป็นรูปแบบกระดาษ (Hard Copy) และขั้นตอนการดำเนินงานมีความซับซ้อน การนำส่งเอกสารหลักฐานบางกรณีไม่ครบถ้วน
    6. การสื่อสารเกี่ยวกับหลักเกณฑ์และเงื่อนไขการจ่ายค่าตอบแทนของบุลคากรทางการแพทย์ยังไม่ชัดเจนเพียงพอ มีการส่งรายชื่อซ้ำ ผู้ปฏิบัติงานไม่เข้าเงื่อนไขหรือหลักเกณฑ์การได้รับเงิน ทำให้ต้องมีการขอคืนเงิน
ข้อเสนอแนะ
    1. จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ควรจัดหากลุ่มตัวอย่างในต่างประเทศเพิ่มเติมจากกลุ่มคนไทยที่มีอยู่ให้ครบตามเป้าหมาย และเตรียมแผนสำรองโดยสำรวจข้อมูลและค้นหากลุ่มตัวอย่างในต่างประเทศมากกว่า 1 ประเทศ เพื่อเพิ่มโอกาสให้ได้จำนวนกลุ่มตัวอย่างเพียงพอ
    2. กรมควบคุมโรคและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มีการปรับปรุงแผนงานการบริหารจัดการด้านวัคซีนใหม่ โดยนำเอาข้อมูลจากสถานการณ์ปัจจุบันมาใช้ ทั้งในด้านความต้องการ ศักยภาพการผลิตของผู้ผลิตต่างๆ และการดำเนินงานด้านโลจิสติกส์ ที่เกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ต่างๆ และมีการพยากรณ์ที่รองรับสถานการณ์ที่อาจเกิดขึ้นในรูปแบบต่างกัน
    3. หน่วยงานภาครัฐควรมีการตรวจสอบภาระงานหรือสัญญาที่ผู้รับจ้างดำเนินการอยู่ในช่วงเวลาเดียวกันและให้ผู้รับจ้างจัดทำแผนงานการก่อสร้างควบคู่ไปกับแผนกำลังแรงงานที่จะใช้ในการทำงาน และกำกับควบคุมให้เป็นไปตามแผน โดยผู้รับจ้างต้องเสนอแผนสำรองคนที่มีความเป็นไปได้ เพื่อให้หน่วยงานสามารถกำกับติดตาม ควบคุม การก่อสร้างให้เป็นไปตามแผนได้มากที่สุด
    4. สถาบันวัคซีนและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยและพัฒนาวัคซีน ควรรวบรวมองค์ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมและวงจรชีวิตของสัตว์ทดลองประเภทต่าง ๆ เพื่อให้มีข้อมูลสำหรับการจัดทำโครงการจัดหาสัตว์ทดลองมาใช้ในอนาคตได้ได้เหมาะสมมากขึ้น
    5. ภาครัฐควรเร่งผลักดันให้สามารถใช้เอกสารอิเล็กทรอนิกส์ได้เทียบเท่ากับเอกสารรูปแบบกระดาษ ในการทำธุรกรรมของภาครัฐ เพื่อให้การดำเนินงานด้านเอกสารเป็นไปอย่างรวดเร็ว คล่องตัว ลดโอกาสเกิดความผิดพลาด และสามารถกลับมาตรวจสอบย้อนหลังได้จากไฟล์ข้อมูลที่จัดเก็บไว้
    6. หน่วยงานกลางและหน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการควรประชาสัมพันธ์หลักเกณฑ์การขอรับเงินค่าเสี่ยงภัยให้สามารถทำความเข้าใจได้ง่าย และอาจจัดทำ Checklist เพื่อใช้ประกอบการส่งคำขอรับเงิน เพื่อช่วยในการตรวจสอบเบื้องต้น และลดข้อผิดพลาด
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

การเปลี่ยนแปลงมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ (Nominal GDP) จากการดำเนินโครงการตาม แผนงานหรือโครงการภายใต้พระราชกำหนดฯ เพิ่มเติม พ.ศ. 2564
ตัวแปรเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
หน่วย
2564
2565
2566
2567F
มูลค่าทางเศรษฐกิจ (GDP)
กรณีมีโครงการ ล้านบาท 16,166,597.00 17,370,236.00 18,188,872.25 19,257,956.57
กรณีไม่มีโครงการ ล้านบาท 16,156,251.86 17,280,729.69 18,165,457.73 19,250,896.98
มูลค่าทางเพิ่มจากกรณีมีโครงการ ล้านบาท 10,345.14 89,506.31 23,414.52 7,059.59
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Real GDP growth)
กรณีมีโครงการ %yoy 1.49 2.6 2.75 3.91
กรณีไม่มีโครงการ %yoy 1.42 2.05 2.62 3.87
ส่วนเพิ่มจากกรณีมีโครงการ %yoy 0.07 0.55 0.13 0.04
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากการประเมินผลของแผนงานที่ 1
ผลผลิต
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. จำนวนวัคซีนป้องกันโรคโควิด - 19 ที่จัดหาได้* 87.66 ล้านโดส
2. จำนวนครุภัณฑ์ทางการแพทย์ที่จัดซื้อ/จัดหาได้สำเร็จ 3,028 รายการ
3. รองรับจำนวนผู้ป่วยติดเชื้อไวรัสโคโรน่า 2019 ได้เพิ่มขึ้น 13,837 ราย
4. จำนวนยาที่จัดหาเพิ่มเติม (ยา Favipiravir tablet /Molnupiravir Capsule) 216,825,560 ล้านเม็ด
5. จำนวนยาที่จัดหาเพิ่มเติม (Remdesivir) 169,780 ขวด
6. จำนวนครุภัณฑ์เพื่อพัฒนาขีดความสามารถในการทดสอบประสิทธิภาพและความปลอดภัยของวัคซีนในห้องปฏิบัติการชีวนิรภัยในสัตว์ทดลองระดับ 2/3 ที่ได้รับการจัดสรร 18 รายการ
7. จัดตั้งศูนย์สัตว์ทดลองไพรเมตทางเลือกที่มีขนาดเล็กในการวิจัยและทดสอบวัคซีน และเภสัชภัณฑ์ได้สำเร็จ 1 แห่ง
8. หน่วยบริการ สถานพยาบาลได้รับเงินค่าบริการสาธารณสุขโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 135,500.3046 ล้านบาท
9. ค่าบริการสาธารณสุขกลุ่มไร้สิทธิ 1,321.75 ล้านบาท
10. ค่าใช้จ่ายเกี่ยวกับบุคลากรทางการแพทย์และสาธารณสุข (ค่าเสี่ยงภัย นอกเหนือภารกิจ ฯลฯ) 9,465.19 ล้านบาท
ผลลัพธ์
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. วัคซีน โควิด-19 ChulaCov19 mRNA ที่ผลิตเองในประเทศไทย อยู่ระหว่าง การดำเนินการ
2. จำนวนเงินค่าชดเชยค่าบริการการฉีดวัคซีนกลุ่มบุคคลที่มีปัญหาสถานะและสิทธิรวมทั้งผู้ที่ไม่ใช่ประชาชนไทย 96.424068 ล้านบาท
3. ระดับความพึงพอใจของบุคลากรทางการแพทย์ต่อครุภัณฑ์ที่ได้รับจากโครงการฯ ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการรักษามากยิ่งขึ้น เช่น ลดความเสี่ยงต่อความรุนแรง และเสียชีวิต อยู่ในระดับมากที่สุด 4.55 คะแนน
4. ระดับความพึงพอใจของกลุ่มผู้ได้รับค่าบริการสาธารณสุข 4.61 คะแนน
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 669,969.6 ล้านบาท
2. รายได้จากการจัดเก็บภาษีทั้งทางตรงและทางอ้อม ที่คาดว่ารัฐจะได้รับกลับคืนสูงสุด ภายในระยะเวลา 3 ปี 129,304.13 ล้านบาท
3. เงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 3.53 เท่า
ผลกระทบทางสังคม
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. ลดภาระค่าใช้จ่ายให้กับประชาชนกลุ่มเสี่ยงและประชาชนที่ติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 136,822.05 ล้านบาท
2. ระดับความเชื่อมั่นของบุคลากรทางการแพทย์ต่อระบบสาธารณสุขไทย อยู่ในระดับมาก – มากที่สุด 91 ร้อยละ
3. ระดับความเชื่อมั่นต่อการรักษาพยาบาลของกลุ่มเป้าหมาย ต่อการใช้บริการ อยู่ในระดับมาก – มากที่สุด 92.27 ร้อยละ
4. อันดับประเทศที่ฟื้นตัวและรับมือกับการระบาดของโรคโควิด-19 ได้ดีที่สุด จากการจัดอันดับดัชนี Global COVID-19 Index (GCI) อันดับ 1-30 อันดับ
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66