แผนงานที่ 2

สัดส่วนแผนงานที่ 2
กลุ่มแผนงาน วงเงินอนุมัติ จำนวนโครงการที่อนุมัติ
แผนงานที่ 21
แผน 2.1 เพื่อบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายของประชาชน
139,491,956,516.86
บาท
27
โครงการ
แผนงานที่ 22
แผน 2.2 เพื่อช่วยเหลือผู้ประกอบอาชีพหรือผู้ประกอบการทุกสาขาอาชีพให้สามารถประกอบอาชีพหรือดำเนินธุรกิจได้
15,943,898,000.00
บาท
4
โครงการ
รวมทั้งหมด
155,435,854,516.86
บาท
31
โครงการ

ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลการเบิกจ่ายต่อวงเงินกู้ฯ ที่ได้รับอนุมัติ
วงเงินอนุมัติ
ผลเบิกจ่าย
สัดส่วนโครงการที่เสร็จสิ้นต่อโครงการที่อนุมัติ
จำนวนโครงการแล้วเสร็จ
31
โครงการ
สัดส่วนโครงการที่แล้วเสร็จ
100.00 %
แผนงานที่ 2.1 แผนงานที่ 2.2
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

กลุ่มแผนงาน
หน่วยงาน
วงเงินกู้ที่อนุมัติ (บาท)
155,435,854,516.86
ผลการเบิกจ่าย (บาท)
153,380,242,216.87
% การเบิกจ่าย
98.68%
เลือกแสดงผล
หน่วยงาน สังกัด/กระทรวง วงเงินกู้ที่อนุมัติ ผลการเบิกจ่าย สัดส่วนผลการเบิกจ่าย แล้วเสร็จ อยู่ระหว่าง ขอยกเลิก จำนวนโครงการ
สำนักงานประกันสังคม สำนักงานประกันสังคม 87,978,553,000.00 86,990,114,999.00
98.88 %
3 0 3
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 23,678,953,916.86 23,031,304,345.10
97.26 %
6 0 6
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 13,150,364,000.00 13,150,344,000.00
100.00 %
1 0 1
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 10,293,000,000.00 10,293,000,000.00
100.00 %
1 0 1
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 7,351,336,100.00 7,207,241,361.42
98.04 %
1 0 1
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 4,645,772,000.00 4,635,124,000.00
99.77 %
1 0 1
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 2,753,178,000.00 2,753,052,000.00
100.00 %
1 0 1
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2,059,368,000.00 1,836,852,000.00
89.19 %
1 0 1
การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้านครหลวง 2,047,410,000.00 2,047,410,000.00
100.00 %
1 0 1
กรุงเทพมหานคร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 572,492,000.00 542,920,000.00
94.83 %
1 0 1
การประปาส่วนภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค 271,651,500.00 271,651,511.35
100.00 %
1 0 1
สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 164,036,000.00 159,002,000.00
96.93 %
1 0 1
การประปานครหลวง การประปานครหลวง 159,080,000.00 159,080,000.00
100.00 %
1 0 1
กรมการขนส่งทางบก กรมการขนส่งทางบก 86,215,000.00 86,215,000.00
100.00 %
1 0 1
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี 64,180,000.00 64,180,000.00
100.00 %
1 0 1
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี 51,696,000.00 51,696,000.00
100.00 %
1 0 1
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 35,952,000.00 35,840,000.00
99.69 %
1 0 1
เมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 30,778,000.00 28,602,000.00
92.93 %
1 0 1
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 12,868,000.00 9,246,000.00
71.85 %
1 0 1
สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม 12,295,000.00 10,725,000.00
87.23 %
1 0 1
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ 12,268,000.00 12,266,000.00
99.98 %
1 0 1
กระทรวงแรงงาน กระทรวงแรงงาน 1,808,000.00 1,776,000.00
98.23 %
1 0 1
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ 1,440,000.00 1,440,000.00
100.00 %
1 0 1
กองทัพบก กองทัพบก 1,160,000.00 1,160,000.00
100.00 %
1 0 1
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

สรุปวงเงินกู้ฯ ที่ผ่านการอนุมัติจำแนกตามภูมิภาค
31
โครงการ
จำนวนโครงการ
วงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ
ผลการเบิกจ่าย
สัดส่วนผลการเบิกจ่าย
ต่อวงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ




ข้อมูลรายโครงการ : ส่วนกลาง
หน่วยงาน สังกัด/กระทรวง วงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ ผลการเบิกจ่าย สัดส่วนผลเบิกจ่าย
กรมการขนส่งทางบก กรมการขนส่งทางบก 86,215,000.00 86,215,000.00
100.00%
กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น กรมส่งเสริมการปกครองท้องถิ่น 2,753,178,000.00 2,753,052,000.00
100.00%
กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 35,952,000.00 35,840,000.00
99.69%
กระทรวงแรงงาน กระทรวงแรงงาน 1,808,000.00 1,776,000.00
98.23%
กองทัพบก กองทัพบก 1,160,000.00 1,160,000.00
100.00%
การประปานครหลวง การประปานครหลวง 159,080,000.00 159,080,000.00
100.00%
การประปาส่วนภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค 271,651,500.00 271,651,511.35
100.00%
การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้านครหลวง 2,047,410,000.00 2,047,410,000.00
100.00%
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค 10,293,000,000.00 10,293,000,000.00
100.00%
มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ มหาวิทยาลัยการกีฬาแห่งชาติ 12,868,000.00 9,246,000.00
71.85%
โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ โรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ 1,440,000.00 1,440,000.00
100.00%
สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ สถาบันบัณฑิตพัฒนศิลป์ 12,268,000.00 12,266,000.00
99.98%
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน 13,150,364,000.00 13,150,344,000.00
100.00%
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา 2,059,368,000.00 1,836,852,000.00
89.19%
สำนักงานประกันสังคม สำนักงานประกันสังคม 87,978,553,000.00 86,990,114,999.00
98.88%
สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 7,351,336,100.00 7,207,241,361.42
98.04%
สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม สำนักงานปลัดกระทรวงวัฒนธรรม 12,295,000.00 10,725,000.00
87.23%
สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ 4,645,772,000.00 4,635,124,000.00
99.77%
สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม สำนักงานปลัดกระทรวงอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม 164,036,000.00 159,002,000.00
96.93%
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง 23,678,953,916.86 23,031,304,345.10
97.26%
สำนักงานตำรวจแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี 51,696,000.00 51,696,000.00
100.00%
สำนักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี 64,180,000.00 64,180,000.00
100.00%
กรุงเทพมหานคร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 572,492,000.00 542,920,000.00
94.83%
เมืองพัทยา องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 30,778,000.00 28,602,000.00
92.93%
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลการประเมินในแผนงานที่ 2
รวมผลการประเมินทั้งหมด A
1. ด้านความสอดคล้อง และความเชื่อมโยง (Relevance & Coherence) a
2. ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) a
3. ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) a
4. ผลกระทบ (Impact) a
5. ด้านความยั่งยืน (Sustainability) c
ปัญหาและอุปสรรค
    1. การออกแบบโครงการโดยให้เป็นเงินสด ซึ่งให้อิสระในการนำไปใช้จ่าย มีความเสี่ยงสูงที่จะทำให้มีการใช้เงินไปในด้านอื่น ซึ่งพบว่ากลุ่มเป้าหมายส่วนใหญ่นำเงินไปใช้จ่ายในด้านอุปโภคบริโภคมากเป็นอันดับ 1 แต่ใช้จ่ายด้านการศึกษารองลงมาเป็นอันดับ 2
    2. ปัญหาความเหลื่อมล้ำด้านเทคโนโลยีดิจิทัล (Digital Divide) ในด้านทักษะและความสามารถด้านการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล โดยการให้เงินช่วยเหลือ เยียวยากลุ่มเป้าหมายที่มีอายุเกิน 65 ปี (กลุ่มคนขับรถแท็กซี่ มอเตอร์ไซค์รับจ้าง ศิลปินอาวุโส) มีข้อจำกัดในด้านการใช้เทคโนโลยี เช่น การยืนยันตัวตน หรือการรับส่งข้อมูลบนระบบออนไลน์ การจองคิวออนไลน์ และการตรวจสอบสิทธิหลังจากลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการผ่านทางเวบไซต์ ซึ่งกรมการขนส่งทางบกต้องแก้ปัญหาโดยจัดให้มีเจ้าหน้าที่คอยให้ความช่วยเหลือกลุ่มเป้าหมาย
    3. ความไม่ทันสมัย หรือไม่พร้อมใช้งานของฐานข้อมูลในระบบ ทำให้การประมาณการกลุ่มเป้าหมายที่จะได้รับความช่วยเหลือไม่แม่นยำเท่าที่ควร เมื่อดำเนินการแล้วจึงต้องมีการคืนกรอบวงเงิน เช่น
    โครงการช่วยเหลือด้านการศึกษาหลายโครงการ มีระบบฐานข้อมูล แต่ข้อมูลในระบบไม่เป็นปัจจุบัน จำนวนกลุ่มเป้าหมายขณะที่ขออนุมัติ กับที่ดำเนินการจริงแตกต่างกันอยู่พอควร โครงการช่วยเหลือกลุ่มผู้ขับรถรับจ้างสาธารณะอายุเกิน 65 ปี ที่ไม่สามารถเป็นผู้ประกันตนตาม ม. 33, ม. 39 และ ม. 40 ได้ พบว่าไม่มีการจัดทำฐานข้อมูล และไม่มีการเชื่อมโยงหรือแลกเปลี่ยนข้อมูลกับสหกรณ์หรือผู้ให้เช่ารถแท้กซี่ กลุ่มเป้าหมายต้องเสียเวลาในการจัดเตรียมเอกสาร เพื่อยืนยันว่าเข้าเงื่อนไขเป็นผู้ได้รับสิทธิ์
    4. กลุ่มเป้าหมายไม่รับรู้หรือไม่เข้าใจรายละเอียดการเข้าร่วมโครงการ จึงไม่มีความพร้อมในการเข้าร่วมโครงการฯ
ข้อเสนอแนะ
  • การออกแบบโครงการให้มีกิจกรรมที่สนับสนุนให้สามารถบรรลุวัตถุประสงค์ได้ดียิ่งขึ้น เช่น
    1.1 กำหนดประเภทของสินค้า และบริการ ให้นำวงเงินไปใช้จ่ายเฉพาะประเภทเพื่อการศึกษาเท่านั้น โดยอาจให้ร้านค้าลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการ
    1.2 ขอความร่วมมือจากผู้ประกอบการในธุรกิจอุปกรณ์การเรียนการสอน หรือ ผู้ให้บริการ Internet) เพื่อให้ส่วนลดแก่ผู้เข้าร่วมโครงการ และเมื่อผู้เข้าร่วมโครงการใช้วงเงินซื้อสินค้า/บริการ รัฐจ่ายเงินให้ผู้ประกอบการ ร้านค้า ที่ลงทะเบียนเข้าร่วมโครงการโดยตรง (คล้ายกันกับบัญชี “ถุงเงิน”)
    1.3 ลดค่าเทอม หรือค่าธรรมเนียมต่างๆ ในปีการศึกษาที่ต้องการช่วยเหลือ แทนการให้เงินสด
    1.4 ให้คูปองดิจิทัล /คูปองเงินสด (กรณีไม่มีสมาร์ทโฟน) สำหรับแลกซื้อสินค้าประเภทในประเภทที่กำหนด

  • หน่วยงานภาครัฐควรมีการวิเคราะห์พฤติกรรม และความสามารถในการเข้าถึงสิทธิ์ของกลุ่มเป้าหมาย และข้อจำกัดต่าง ๆ เพื่อให้สามารถออกแบบโครงการให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น
  • พม. ควรมีการสำรวจสภาพปัญหา ความต้องการของกลุ่มเป้าหมายของโครงการภายหลังจากการระบาดผ่านพ้านไป เพื่อให้สามารถวางแนวทางหรือจัดทำโครงการช่วยเหลือและพัฒนา สร้างโอกาสในการประกอบอาชีพให้กับกลุ่มเป้าหมายที่เป็นผู้สูงวัย ซึ่งอาจจะยังไม่สามารถฟื้นตัวจากผลกระทบที่ได้รับ
  • หน่วยงานผู้รับผิดชอบโครงการฯ ควรบูรณาการการทำงานร่วมกันระหว่างหน่ายงานที่เกี่ยวข้อง ตั้งแต่กระบวนการจัดทำโครงการ การกำหนดกิจกรรม และแผนงานพร้อมกัน รวมถึงการกำหนดระยะเวลาสิ้นสุดโครงการ เพื่อให้สามารถประมาณการ งบประมาณได้อย่างแม่นยำตามข้อกำหนดก่อนลงทะเบียน
  • หน่วยงานภาครัฐควรเร่งจัดทำ/ปรับปรุงระบบฐานข้อมูลและธรรมาภิบาลของข้อมูล
    5.1 จัดทำและปรับปรุงฐานข้อมูลให้เป็นปัจจุบันและพร้อมใช้อยู่เสมอ มีการเชื่อมโยงข้อมูลกับหน่วยงานอื่นที่เกี่ยวข้องและแบ่งปันข้อมูลที่ใช้ร่วมกัน
    5.2 เร่งจัดทำธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ตามประกาศคณะกรรมการพัฒนารัฐบาลดิจิทัล เรื่อง ธรรมาภิบาลข้อมูลภาครัฐ ที่ประกาศในราชกิจจานุเบกษาเมื่อ วันที่ 31 ม.ค. 63 โดยข้อมูลที่ใช้เหมือนกันควรมีนิยามที่เป็นมาตรฐานเดียวกัน มีผู้รับผิดชอบในการจัดเก็บ ปรับปรุง หรือทำลายเมื่อไม่ใช้งาน ที่ไม่ซ้ำซ้นหัน เพื่อให้สามารถนำข้อมูลไปใช้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ และสามารถช่วยเหลือ เยียวยากลุ่มเป้าหมายได้ตรงกลุ่มและตรงตามสภาพปัญหาที่แตกต่างกัน หากเกิดสถานการณ์วิกฤติที่ต้องการความช่วยเหลืออย่างเร่งด่วนในอนาคต
  • การประชาสัมพันธ์โครงการ หน่วยงานเจ้าของโครงการฯ ควรมีการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างการรับรู้และทำความเข้าใจให้แก่ผู้ที่มีความประสงค์จะเข้าร่วมโครงการฯ ในหลากหลายช่องทางทั้งออฟไลน์และออนไลน์ในการประชาสัมพันธ์โครงการ ควรมีการอธิบายรายละเอียดของข้อกำหนดและเงื่อนไขต่าง ๆ ในการได้รับสนับสนุนเงินช่วยเหลืออย่างชัดเจน และเข้าใจง่าย เหมาะกับกลุ่มเป้าหมายซึ่งเป็นผู้สูงอายุ

การเปลี่ยนแปลงมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ (Nominal GDP) จากการดำเนินโครงการตาม แผนงานหรือโครงการภายใต้พระราชกำหนดฯ เพิ่มเติม พ.ศ. 2564
ตัวแปรเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
หน่วย
2564
2565
2566
2567F
มูลค่าทางเศรษฐกิจ (GDP)
กรณีมีโครงการ ล้านบาท 16,166,597.00 17,370,236.00 18,188,872.25 19,257,956.57
กรณีไม่มีโครงการ ล้านบาท 16,059,429.29 17,297,171.58 18,168,782.09 19,251,650.91
มูลค่าทางเพิ่มจากกรณีมีโครงการ ล้านบาท 107,167.71 73,064.42 20,090.16 6,305.66
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Real GDP growth)
กรณีมีโครงการ %yoy 1.49 2.6 2.75 3.91
กรณีไม่มีโครงการ %yoy 0.81 2.15 2.63 3.88
ส่วนเพิ่มจากกรณีมีโครงการ %yoy 0.68 0.45 0.12 0.03
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากการประเมินผลของแผนงานที่ 2
ผลผลิต
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. จำนวนเด็กเล็ก นักเรียน นักศึกษา ที่ได้รับการช่วยเหลือเยียวยา 13,080,403 ราย
2. จำนวนการเยียวยานายจ้างผู้ประกันตน 12,257,408 ราย
3. จำนวนการเยียวยาด้านสาธารณูปโภค (ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า) 28,270,000 ราย
4. จำนวนการเยียวยาผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 13,356,080 ราย
5. จำนวนการเยียวยาผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ 3,850,000 ราย
6. จำนวนการเยียวยาผู้ประกอบอาชีพอิสระ ที่มีอายุเกิน 65 ปี 10,101 ราย
ผลลัพธ์
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. มูลค่าการบรรเทาภาระค่าใช้จ่ายด้านการศึกษา 30,491.67 ล้านบาท
2. มูลค่าการเยียวยานายจ้างผู้ประกันตน 87,056.08 ล้านบาท
3. มูลค่าการเยียวยาด้านสาธารณูปโภค (ค่าน้ำ ค่าไฟฟ้า) 12,771.14 ล้านบาท
4. มูลค่าการเยียวยาผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 21,103.74 ล้านบาท
5. มูลค่าการเยียวยาผู้ที่ต้องการความช่วยเหลือเป็นพิเศษ 1,927.56 ล้านบาท
6. มูลค่าการเยียวยาผู้ประกอบอาชีพอิสระ ที่มีอายุเกิน 65 ปี 96.94 ล้านบาท
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 549,615.61 ล้านบาท
2. รายได้จากการจัดเก็บภาษีทั้งทางตรงและทางอ้อม ที่คาดว่ารัฐจะได้รับกลับคืนสูงสุด ภายในระยะเวลา 3 ปี 106,075.81 ล้านบาท
3. เงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 3.58 เท่า
ผลกระทบทางสังคม
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. การลดความเครียด วิตกกังวลของผู้ประกันตนม.39 ม.40 85.22 ร้อยละ
2. ชะลอหนี้เสียของผู้ประกันตน ม.39 ม.40 33.62 ร้อยละ
3. เพิ่มโอกาสให้นักเรียนได้เรียนรู้และเข้าถึงการศึกษามากขึ้น ร้อยละ 51.63* นำเงินไปใช้จ่ายด้านการศึกษา
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

0