แผนงานที่ 2

สัดส่วนแผนงานที่ 2
กลุ่มแผนงาน วงเงินอนุมัติ จำนวนโครงการที่อนุมัติ
แผนงานที่ 21
แผน 2.1 แผนงานเพื่อช่วยเหลือ เยียวยา และชดเชยให้แก่ประชาชน
595,756,487,300.00
บาท
19
โครงการ
แผนงานที่ 22
แผน 2.2 แผนงานโครงการช่วยเหลือเกษตรกร
113,302,535,000.00
บาท
1
โครงการ
รวมทั้งหมด
709,059,022,300.00
บาท
20
โครงการ

ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลการเบิกจ่ายต่อวงเงินกู้ฯ ที่ได้รับอนุมัติ
วงเงินอนุมัติ
ผลเบิกจ่าย
สัดส่วนโครงการที่เสร็จสิ้นต่อโครงการที่อนุมัติ
จำนวนโครงการแล้วเสร็จ
20
โครงการ
สัดส่วนโครงการที่แล้วเสร็จ
100.00 %
แผนงานที่ 2.1 แผนงานที่ 2.2
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

กลุ่มแผนงาน
หน่วยงาน
วงเงินกู้ที่อนุมัติ (บาท)
709,059,022,300.00
ผลการเบิกจ่าย (บาท)
704,730,146,376.73
% การเบิกจ่าย
99.39%
เลือกแสดงผล
หน่วยงาน สังกัด/กระทรวง วงเงินกู้ที่อนุมัติ ผลการเบิกจ่าย สัดส่วนผลการเบิกจ่าย แล้วเสร็จ อยู่ระหว่าง ขอยกเลิก จำนวนโครงการ
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง/กระทรวงการคลัง 496,520,076,300.00 493,197,926,228.70
99.33 %
7 0 0 7
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร/กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 113,302,535,000.00 113,300,488,597.00
100.00 %
1 0 0 1
สำนักงานประกันสังคม สำนักงานประกันสังคม/กระทรวงแรงงาน 66,963,025,000.00 65,962,386,512.46
98.51 %
3 0 0 3
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์/กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 19,990,806,000.00 19,986,828,000.00
99.98 %
1 0 0 1
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค/กระทรวงมหาดไทย 9,544,440,000.00 9,544,440,000.00
100.00 %
2 0 0 2
การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้านครหลวง/กระทรวงมหาดไทย 1,937,470,000.00 1,937,470,000.00
100.00 %
2 0 0 2
การประปาส่วนภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค/กระทรวงมหาดไทย 532,570,000.00 532,507,038.57
99.99 %
2 0 0 2
การประปานครหลวง การประปานครหลวง/กระทรวงมหาดไทย 268,100,000.00 268,100,000.00
100.00 %
2 0 0 2
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

สรุปวงเงินกู้ฯ ที่ผ่านการอนุมัติจำแนกตามภูมิภาค
20
โครงการ
จำนวนโครงการ
วงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ
ผลการเบิกจ่าย
สัดส่วนผลการเบิกจ่าย
ต่อวงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ




ข้อมูลรายโครงการ : ส่วนกลาง
หน่วยงาน สังกัด/กระทรวง วงเงินกู้ฯ ที่ ครม. อนุมัติ ผลการเบิกจ่าย สัดส่วนผลเบิกจ่าย
การประปานครหลวง การประปานครหลวง/กระทรวงมหาดไทย 268,100,000.00 268,100,000.00
100.00%
การประปาส่วนภูมิภาค การประปาส่วนภูมิภาค/กระทรวงมหาดไทย 532,570,000.00 532,507,038.57
99.99%
การไฟฟ้านครหลวง การไฟฟ้านครหลวง/กระทรวงมหาดไทย 1,937,470,000.00 1,937,470,000.00
100.00%
การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค การไฟฟ้าส่วนภูมิภาค/กระทรวงมหาดไทย 9,544,440,000.00 9,544,440,000.00
100.00%
สำนักงานประกันสังคม สำนักงานประกันสังคม/กระทรวงแรงงาน 66,963,025,000.00 65,962,386,512.46
98.51%
สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ สำนักงานปลัดกระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์/กระทรวงการพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์ 19,990,806,000.00 19,986,828,000.00
99.98%
สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร สำนักงานเศรษฐกิจการเกษตร/กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ 113,302,535,000.00 113,300,488,597.00
100.00%
สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง สำนักงานเศรษฐกิจการคลัง/กระทรวงการคลัง 496,520,076,300.00 493,197,926,228.70
99.33%
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลการประเมินในแผนงานที่ 2
รวมผลการประเมินทั้งหมด A
1. ด้านความสอดคล้อง และความเชื่อมโยง (Relevance & Coherence) a
2. ด้านประสิทธิภาพ (Efficiency) a
3. ด้านประสิทธิผล (Effectiveness) a
4. ผลกระทบ (Impact) a
5. ด้านความยั่งยืน (Sustainability) b
ปัญหาและอุปสรรค
    • ภาพรวมของโครงการที่ดำเนินการภายใต้แผนงานที่ 2 มีผลการประเมินอยู่ในเกณฑ์ “ดีมาก” ระดับเกรด A
    • โครงการภายใต้แผนงานที่ 2 มีความสอดคล้องกับวัตถุประสงค์การใช้จ่ายเงินกู้ตาม พ.ร.ก. กู้เงินโควิด 19 พ.ศ. 2563 โดยช่วยเยียวยา บรรเทาภาระค่าใช้จ่ายให้กับประชาชนกลุ่มต่าง ๆ
    • การดำเนินโครงการส่วนใหญ่มีประสิทธิภาพ เป็นไปตามแผนการดำเนินงานที่วางไว้ และสามารถใช้จ่ายเงินกู้ได้เป็นไปตามแผน และครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายครบถ้วนในช่วงระยะเวลาดำเนินการที่มีข้อจำกัด
    • ฐานข้อมูลประชาชนของแต่ละหน่วยงานไม่เชื่อมโยงกัน ทำให้ต้องใช้เวลาในการตรวจสอบสิทธิ์ เพื่อไม่ให้ซ้ำซ้อนกับโครงการอื่น ๆ ตามเงื่อนไขของโครงการ
    • สัดส่วนกรอบวงเงินกู้จำนวน 72.19% ใช้ไปในการช่วยเหลือ เยียวยา บรรเทาภาระค่าใช้จ่ายให้กับภาคประชาชนและผู้ได้รับผลกระทบกลุ่มต่าง ๆ ซึ่งเป็นการช่วยเหลือที่จำเป็น ในระยะสั้นๆ ให้สามารถรับมือกับปัญหาเฉพาะหน้าเนื่องจากการตกงาน การสูญเสียรายได้
    • โครงการในแผนงานที่ 2 ช่วยสนับสนุน และกระตุ้นการใช้เทคโนโลยีของประชาชนไทยโดยมีเงื่อนไขการเข้าร่วมโครงการผ่านแอพพลิเคชั่น เช่น เป๋าตัง และการลงทะเบียนผ่านระบบออนไลน์ เช่น โครงการเยียวยาเกษตรกร โครงการเราชนะ เป็นต้น
ข้อเสนอแนะ
    • การออกแบบโครงการโดยให้รับสิทธิผ่านพร้อมเพย์ ทำให้สามารถช่วยเหลือได้ตรงไปยังตัวบุคคลที่ได้รับสิทธิ และมีความโปร่งใส ช่วยให้ประเทศไทยมีฐานข้อมูลประชากรที่มีการยืนยันตัวตนจริง ซึ่งนำไปใช้ประโยชน์ได้ในอนาคต
    • รัฐบาลต้องเร่งรัดให้หน่วยงานภาครัฐดำเนินการตามกรอบธรรมาภิบาลข้อมูลของภาครัฐ (Government Data Governance) และมีการบูรณาการหรือแบ่งปันข้อมูลประชากรระหว่างกัน เพื่อให้การประเมินความจำเป็นในการช่วยเหลือและให้ความช่วยเหลือได้รวดเร็ว ตรงกลุ่มเป้าหมายมากขึ้น
    • โครงการที่มีกลุ่มเป้าหมายเป็นประชาชนจำนวนมากและดำเนินการครอบคลุมพื้นที่ทั่วประเทศ ควรมอบหมายให้หน่วยงานที่มีภารกิจโดยตรงในการให้บริการประชาชน ซึ่งมีความพร้อมด้านทรัพยากร และช่องทางการติดต่อหรือให้บริการประชาชน จะทำให้การสื่อสารกับกลุ่มเป้าหมายได้อย่างรวดเร็ว
    • การช่วยเหลือดูแลกลุ่มเปราะบาง (เด็ก/ผู้สูงอายุ/คนพิการ) อาจพิจารณาสนับสนุนสิ่งของเครื่องใช้ที่จำเป็นในการดำรงชีพเพิ่มเติมด้วย เช่น นมผง ผ้าอ้อม อาหารเสริมสำหรับผู้สูงอายุ เพื่อให้กลุ่มเป้าหมายได้รับประโยชน์โดยตรง
    • ผู้ถือบัตรสวัสดิการแห่งรัฐนิยมซื้อสินค้าจากร้านค้าธงฟ้า จึงควรมีการพิจารณาความหนาแน่นของผู้ถือบัตรกับจำนวนร้านค้าให้มีความเหมาะสม
    • โครงการให้เงินช่วยเหลือ เยียวยาต่าง ๆ ควรทำเท่าที่จำเป็น เพื่อบรรเทาผลกระทบและแก้ปัญหาเฉพาะหน้า ภาครัฐควรจัดทำโครงการที่จะช่วยสร้างความยั่งยืนในระยะยาวขึ้นมารองรับ

การเปลี่ยนแปลงมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจ (Nominal GDP) จากการดำเนินโครงการตาม พ.ร.ก. เงินกู้โควิด พ.ศ. 2563
ตัวแปรเป้าหมายทางเศรษฐกิจ
หน่วย
2563
2564
2565
2566F
มูลค่าทางเศรษฐกิจ (GDP)
กรณีมีโครงการ ล้านบาท 15,661,146.00 16,166,597.00 17,367,310.00 18,023,063.00
กรณีไม่มีโครงการ ล้านบาท 15,395,120.49 15,762,822.47 17,269,151.27 17,994,172.24
มูลค่าทางเพิ่มจากกรณีมีโครงการ ล้านบาท 234,811.45 266,544.34 65,707.83 19,080.22
อัตราการเติบโตทางเศรษฐกิจ (Real GDP growth)
กรณีมีโครงการ %yoy -6.16 1.59 2.59 3.45
กรณีไม่มีโครงการ %yoy -7.79 -0.89 1.99 3.27
ส่วนเพิ่มจากกรณีมีโครงการ %yoy 1.4422 1.6371 0.4036 0.1172
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66

ผลสัมฤทธิ์ที่ได้จากการประเมินผลของแผนงานที่ 2
ผลผลิต
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการชดเชยรายได้ กลุ่มอาชีพอิสระที่ไม่อยู่ในระบบประกันสังคมตามมาตรา 33 15,268,597 ราย
2. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการชดเชยรายได้ กลุ่มเปราะบาง : เด็กแรกเกิด (0-6 ปี) ผู้สูงอายุ ผู้พิการ 6,663,602 ราย
3. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการชดเชยรายได้ ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 (ส่งเงินสมทบไม่ครบ 6 เดือน ภายใน 15 เดือน) 13,930 ราย
4. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการชดเชยรายได้ นายจ้างที่ได้รับผลกระทบ ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด 192,951 ราย
5. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการชดเชยรายได้ ผู้ประกันตนมาตรา 33 ในพื้นที่ควบคุมสูงสุดและเข้มงวด 3,751,871 ราย
6. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการชดเชยรายได้ เกษตรกร 7,565,880 ราย
7. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการบรรเทาภาระค่าใช้จ่าย ผู้ประกันตนตามมาตรา 33 8,097,605 ราย
8. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการบรรเทาภาระค่าใช้จ่าย จำนวนผู้ได้รับวงเงินช่วยเหลือจากโครงการเราชนะ 32,866,393 ราย
9. จำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการบรรเทาภาระค่าใช้จ่าย ผู้มีบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ 14,921,217 ราย
10. จำนวนกจำนวนกลุ่มเป้าหมายที่ได้รับการบรรเทาภาระค่าใช้จ่าย ผู้ที่ไม่สามารถเข้าถึงระบบอินเทอร์เน็ต (ผู้ที่มีภาวะพึ่งพิง) 1,512,749 ราย
11. จำนวนผู้ได้รับวงเงินช่วยเหลือค่าไฟ 20,350,000 ราย
12. จำนวนผู้ได้รับวงเงินช่วยเหลือค่าน้ำ 6,940,000 ราย
ผลลัพธ์
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. มูลค่าช่วยเหลือ เยียวยา บรรเทาภาระค่าใช้จ่ายให้แก่ประชาชน (ชดเชยรายได้) 310,083.35 ล้านบาท
2. มูลค่าช่วยเหลือ เยียวยา บรรเทาภาระค่าใช้จ่ายให้แก่ประชาชน (บรรเทาภาระค่าใช้จ่าย) 382,383.85 ล้านบาท
3. มูลค่าช่วยเหลือ เยียวยา บรรเทาภาระค่าใช้จ่ายให้แก่ประชาชน (ค่าน้ำ ค่าไฟ) 12,282.52 ล้านบาท
4. ร้อยละของความพึงพอใจของต่อโครงการต่าง ๆ ในภาพรวมอยู่ในระดับมาก - มากที่สุด 85.57 ร้อยละ
ผลกระทบทางเศรษฐกิจ
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. เกิดเงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 2,304,509.85 ล้านบาท
2. รายได้จากการจัดเก็บภาษีทั้งทางตรงและทางอ้อม ที่คาดว่ารัฐจะได้รับกลับคืนสูงสุด ภายในระยะเวลา 3 ปี 444,837.87 ล้านบาท
3. เงินหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจ 3.27 เท่า
ผลกระทบทางสังคม
ตัวชี้วัด ผลการ ดำเนินงาน
1. ลดอัตราการชะลอหนี้เสีย/การเพิ่มขึ้นของหนี้สินครัวเรือน 7.63 ร้อยละ
2. ช่วยบรรเทาผลกระทบต่อครอบครัว 19.35 ร้อยละ
3. บรรเทาความเครียดวิตกกังวล 29.47 ร้อยละ
4. ร้านค้า SMEs ทั่วประเทศ สามารถรักษาอัตราการจ้างงานในช่วงที่มีการดำเนินโครงการ (*จากผลสำรวจกลุ่มผู้ประกอบการ จำนวน 1,500 ราย) 9.67 ล้านราย
5. ความสามารถในการรักษาสภาพคล่องให้กับร้านค้าและผู้ประกอบการ โดยมีรายได้เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับก่อนมีโครงการ 45.32 ร้อยละ
6. การสนับสนุนสังคมไร้เงินสด (Cashless Society) ในประเทศไทย ประเทศไทยติดอันดับ 1 ใน 3 ของโลกใช้ e-payment transaction ชำระเงินแบบเรียลไทม์
ข้อมูล ณ วันที่ 29 ก.ย. 66 จากรายงาน MIS ของกรมบัญชีกลาง ณ วันที่ 2 ต.ค. 66